Getting My ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา To Work

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

การเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายเพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนกรณีศึกษาการบังคับใช้ระบบตัดแต้ม

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 

ปัจจุบันมีการรณรงค์ให้ตระหนักถึงสิทธิ และเสรีภาพของเยาวชนในประเทศมากยิ่งขึ้น ทำให้สังคมเรียนรู้ว่าเยาวชนทุกคนควรได้รับสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ จึงมีการเข้าไปสนับสนุน และดูแลโรงเรียนที่ขาดแคลนให้สามารถเข้าถึงแหล่งการศึกษาที่มีประสิทธิภาพได้ อย่างไรก็ตาม นักเรียนที่ยังคงมีฐานะยากจนก็ยังถูกจำกัดให้มีตัวเลือกเพียงแค่การเข้าถึงสถาบันการศึกษาของรัฐ เนื่องจากสถานศึกษาของเอกชนยังคงมีอัตราค่าเล่าเรียนที่สูง

ส.ต.สวัสดิ์ ชัยณรงค์ จึงตัดสินใจเข้าร่วมอย่างไม่ต้องคิดมาก จึงเข้าสมัครเรียน

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ปัญหาข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการช่วยเหลือนักเรียนยากจนที่มีประสิทธิภาพอาจไม่ได้จบลงแค่การออกแบบเกณฑ์คัดกรอง หรือยกระดับระบบสารสนเทศของรัฐ แต่ยังมีอีกหลายมิติให้พัฒนาไปด้วยกัน ทั้งโครงสร้างขั้นพื้นฐาน การสร้างองค์ความรู้แก่คนทำงาน รวมถึงสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนหรือองค์กรอิสระในท้องถิ่น

สามารถขอรับคำปรึกษา และหากโครงการที่นำเสนอมีศักยภาพ จะมีโอกาสได้รับเงินทุนทำต่อ และ ได้รับการสนับสนุนการทำโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น data / technological know-how / assessment / economic / investigate/ partnership

โจทย์เรื่องความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นสิ่งที่สังคมไทยเผชิญมานับหลายสิบปี ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำระหว่างโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ไม่มีทีท่าว่าจะร่นระยะเข้าใกล้กันได้เลย กลับกัน มันค่อยๆ ทิ้งห่างมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งด้านพื้นที่ บุคลากร การจัดสรรงบประมาณที่คิดจากรายหัวนักเรียน และติดข้อจำกัดเรื่องกลไกกติกาที่ทำให้องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยเหลือโรงเรียนในพื้นที่ตนเองได้มากขึ้น

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

“ในภาพรวม กสศ.สามารถช่วยเหลือเด็กได้จำนวนหนึ่ง ขณะเดียวกันเราก็ทำงานเชิงระบบ เพื่อแก้ปัญหาตัวระบบ เช่น ระบบการจัดการ สถานศึกษาและพัฒนาครู ทั้งนี้เพื่อไปให้ถึงตัวปัญหาให้มากที่สุด”

“รับน้องทำไม”: ความเป็นพี่น้องในระบบโซตัส อัตลักษณ์และการเมืองที่ปลูกฝังในสังคมไทย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “Getting My ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา To Work”

Leave a Reply

Gravatar